หลักเศรฐกจิพอเพียง

การนำหลักเศรษฐกิจ

การปฏิบัติตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
  • ยึดหลัก พออยู่ พอกิน พอใช้
  • ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่าย ลดความฟุ่มเฟือย ในการดำรงชีพ
“ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อต้องประหยัดไปในทางที่ถูกต้อง”
  • ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้องและสุจริต
“ความเจริญของคนทั้งหลายย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบ และการหาเลี้ยงชีพชอบเป็นสำคัญ”
  • ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันในการค้าขาย  ประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่างรุนแรง
“ความสุข ความเจริญอันแท้จริง หมายถึง ความสุข ความเจริญ ที่บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเป็นธรรมทั้งในเจตนาและการกระทำ ไม่ใช่ได้มาด้วยความบังเอิญหรือด้วยการแก่งแย่งเบียดบังจากผู้อื่น”
  • มุ่งเน้นหาข้าวหาปลา ก่อนมุ่งเน้นหาเงินหาทอง
  • ทำมาหากินก่อนทำมาค้าขาย
  • ภูมิปัญญาชาวบ้านและที่ดินทำกิน คือทุนทางสังคม
  • ตั้งสติที่มั่นคง ร่างกายที่แข็งแรงปัญญาที่เฉียบแหลม
หลักเศรษฐกิจพอเพียงที่ฉันนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีดังนี้

 1.การไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย – ฉันไม่ใช้จ่ายเงินเกินความจำเป็น ไม่ใช้จ่ายสิ้นเปลือง เช่น การซื้อของที่ไม่จำเป็น พวกสิ่งของที่ไร้ประโยชน์ หาคุณค่าไม่ได้ เมื่อฉันไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยแล้ว เงินที่เหลือฉันก็เก็บ หยอดใส่กระปุก เพื่อเป็นการประหยัดภายในครอบครัว ไม่นำเงินไปใช้เกินวัยของตนเอง
2.การใช้นำ-ไฟ อย่างประหยัด – ใช้นำให้รู้คุณค่า ไม่เปิดนำทิ้งไว้ หรือ ปิดนำให้สนิท นำที่เหลือจากการล้างผลไม้ อาหาร จะนำไปรดต้นไม้ และไฟ ฉันจะไม่เปิดไฟนอน และปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าให้สนิท ด้วยการถอดปลั๊ก และเมื่อไม่อยู่บ้าน ฉันจะสำรวจว่ามีเครื่องใช้ไฟฟ้าใดบ้างที่ยังไม่ได้ปิด ฉันก็จะปิดให้สนิท
3.การหารายได้เข้าครอบครัว – ช่วยพ่อแม่ทำงาน เพื่อนำไปขาย และปลูกผักนำไปขาย เพื่อหารายได้เข้าครอบครัว และเมื่อหารายได้มาแล้ว จะไม่นำเงินไปใช้จ่ายในสิ่งที่สุรุ่ยสุร่าย พร้อมทั้งทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพื่อรู้การใช้จ่ายภายในครอบครัว เป็นการรู้ว่าภาวะทางการเงินภายในครอบครัวของฉันนั้น เป็นอย่างไรบ้างอะไรที่มันไม่จำเป็นหรือเป็นสิ่งที่ทำให้ครอบครัวของฉันนั้น ต้องมาสิ้นเปลือง

หลักเเนวคิดเศรฐกจิพอเพียง


ปรัชญาเศรฐกจิพอเพียง


 
การจัดสัดส่วนในการทำเศรฐกจิพอเพียง
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น